100%

KPI & Balance Scorecard: การตั้ง KPI ในระบบบริหาร (MS) โดยใช้หลักการของ BSC

Warning: Invalid argument supplied for foreach() in /home/robere/public_html/wp-content/themes/elumine-child/content-single-public_courses.php on line 11

KPI & Balance Scorecard: การตั้ง KPI ในระบบบริหาร (MS) โดยใช้หลักการของ BSC

Course Duration

1 วัน

Course Fee

5,800 บาท (ราคานี้ยังไม่รวมภาษี 7%)

Start Date

Course Description

ปัจจุบันเกือบทุกบริษัทได้พยายามหาวิธีวัดผลการดำเนินงานทางธุรกิจ โดยได้มีการนำเทคนิคต่าง ๆ
มาใช้ หนึ่งในเทคนิคหรือโมเดลที่กำลังเป็นที่นิยมกันอย่างมากคือ Balance Scorecard (BSC) ซึ่งถือเป็นเทคนิคการวัดผลงานสมัยใหม่ ที่มิได้ให้ความสำคัญเฉพาะความสำเร็จทางด้านการเงิน (Financial) เท่านั้น

WHO SHOULD ATTEND?

 เจ้าของธุรกิจ
 ผู้บริหารระดับสูง
 ผู้บริหารระดับฝ่ายวางแผนและพัฒนาธุรกิจ
 หัวหน้าหน่วยงานต่าง ๆ
 ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กร

PREREQUISITES

ไม่มี

HOW YOU WILL BENEFIT?

รู้จักถึงเทคนิคในการวัดผลที่มีประสิทธิภาพสามารถนำมาใช้งานได้จริง ทั้งนี้เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารธุรกิจให้ประสบความสำเร็จและบรรลุถึงวัตถุประสงค์ขององค์กรได้อย่างแท้จริง ทั้งในด้านการเงิน การผลิต การบริหารทรัพยากรมนุษย์และระบบขององค์กร ซึ่งเป็นแนวทางที่สำคัญยิ่งสำหรับธุรกิจที่มีการแข่งขันกันในปัจจุบัน

COURSE OUTLINE

ภาคเช้า

 แนวคิดการวัดผลงานแบบดั้งเดิม
 แนวคิดในการประเมินผลการปฏิบัติงานที่สามารถวัดได้ (KPI)
 การใช้ KPI เป็นตัววัดความสำเร็จของธุรกิจ
 พัฒนาการของ Balance Scorecard
 องค์ประกอบของ Balance Scorecard
 4 มุมมองของ Balance Scorecard

ภาคเช้า

1. ด้านการเงิน (Financial Perspective)
2. ด้านลูกค้า (Customer Perspective)
3. ด้านกระบวนการภายใน (Internal Business Process Perspective)
4. ด้านการเรียนรู้และการเติบโต (Learning and Growth Perspective)
 การกำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย กลยุทธ์ โดยใช้ Balance Scorecard
 Strategic Map หัวใจหลักของ Balance Scorecard
 แนวคิดการวัดผลงานแบบดั้งเดิม
 แนวคิดในการประเมินผลการปฏิบัติงานที่สามารถวัดได้ (KPI)
 การใช้ KPI เป็นตัววัดความสำเร็จของธุรกิจ
 พัฒนาการของ Balance Scorecard
 องค์ประกอบของ Balance Scorecard
 4 มุมมองของ Balance Scorecard

ภาคบ่าย

1. ด้านการเงิน (Financial Perspective)
2. ด้านลูกค้า (Customer Perspective)
3. ด้านกระบวนการภายใน (Internal Business Process Perspective)
4. ด้านการเรียนรู้และการเติบโต (Learning and Growth Perspective)
 การกำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย กลยุทธ์ โดยใช้ Balance Scorecard
 Strategic Map หัวใจหลักของ Balance Scorecard

DAILY SCHEDULE

INTERESTED?